พื้นที่Identity
รหัสอ้างอิง
TH MJUAR RG002/2556-SF3-S1
ชื่อเรื่อง
แฟ้มประวัติข้าราชการ
วันที่
- 1957 (การสะสม)
ระดับlของคำอธิบาย
ระดับชุด
ขนาดและสื่อ
18 กล่อง
ชื่อของผู้สร้าง
(2556-)
Administrative history
กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปัจจุบันตั้งอยู่อาคารสำนักงานอธิการบดี ชั้น 4 มีประวัติความเป็นมาดังนี้
พ.ศ. 2530 เป็นส่วนราชการในสังกัดกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี โดย ก.ม.อนุมัติให้แบ่งส่วนราชการเป็น “งานการเจ้าหน้าที่” ตามหนังสือทบวงมหาวิทยาลัย ที่ ทม 0202/16021 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2530
พ.ศ. 2540 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยมหาวิทยาลัยได้แบ่งส่วนราชการเป็นการภายในให้จัดตั้งเป็น “กองการเจ้าหน้าที่” ขึ้นแทน งานการเจ้าหน้าที่ ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ 367/2540 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
พ.ศ. 2542 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 7/2542 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 และครั้งที่ 8/2542 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2542 ให้จัดตั้งและแบ่งหน่วยงานเป็นการภายใน ดังนี้
“ข้อ 2 (1) ให้แบ่งเป็นหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่ ในสำนักงานอธิการบดี”
“ข้อ 7 ให้แบ่งหน่วยงานในกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี ดังนี้
(1) งานธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานบริหารงานบุคคล
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ”
พ.ศ. 2550 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 7/2550 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ให้แบ่งหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่างาน พ.ศ. 2550 ดังนี้
“ข้อ 9 ให้แบ่งหน่วยงานภายในกองการเจ้าหน้าที่ ดังนี้
(1) งานบริหารและธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานพัฒนาบุคลากร
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ
พ.ศ. 2552 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2552 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ให้แบ่งหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่ากอง พ.ศ. 2552 ดังนี้
“ข้อ 2 ให้แบ่งหน่วยงานภายในกองการเจ้าหน้าที่ ดังนี้
(1) งานบริหารและธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานพัฒนาบุคลากร
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ
พ.ศ. 2530 เป็นส่วนราชการในสังกัดกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี โดย ก.ม.อนุมัติให้แบ่งส่วนราชการเป็น “งานการเจ้าหน้าที่” ตามหนังสือทบวงมหาวิทยาลัย ที่ ทม 0202/16021 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2530
พ.ศ. 2540 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยมหาวิทยาลัยได้แบ่งส่วนราชการเป็นการภายในให้จัดตั้งเป็น “กองการเจ้าหน้าที่” ขึ้นแทน งานการเจ้าหน้าที่ ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ 367/2540 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
พ.ศ. 2542 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 7/2542 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 และครั้งที่ 8/2542 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2542 ให้จัดตั้งและแบ่งหน่วยงานเป็นการภายใน ดังนี้
“ข้อ 2 (1) ให้แบ่งเป็นหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่ ในสำนักงานอธิการบดี”
“ข้อ 7 ให้แบ่งหน่วยงานในกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี ดังนี้
(1) งานธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานบริหารงานบุคคล
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ”
พ.ศ. 2550 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 7/2550 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ให้แบ่งหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่างาน พ.ศ. 2550 ดังนี้
“ข้อ 9 ให้แบ่งหน่วยงานภายในกองการเจ้าหน้าที่ ดังนี้
(1) งานบริหารและธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานพัฒนาบุคลากร
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ
พ.ศ. 2552 เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักงานอธิการบดี โดยสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2552 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ให้แบ่งหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่ากอง พ.ศ. 2552 ดังนี้
“ข้อ 2 ให้แบ่งหน่วยงานภายในกองการเจ้าหน้าที่ ดังนี้
(1) งานบริหารและธุรการ
(2) งานตำแหน่งและอัตรากำลัง
(3) งานพัฒนาบุคลากร
(4) งานทะเบียนประวัติ
(5) งานวินัยและนิติการ
คลังเก็บ
ประวัติจดหมายเหตุ
เอกสารเหล่านี้เดิมถูกเก็บรักษาไว้ที่กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี ก่อนที่จะถูกโอนย้ายมายังหอจดหมายเหตุในปี พ.ศ. 2566 ตามนโยบายการจัดการเอกสาร
แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร
รับมอบจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี ตามนโยบายฝ่ายจดหมายเหตุ
เนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร
ขอบเขตและเนื้อหา
เอกสารชุดนี้ประกอบด้วยแฟ้มประวัติบุคคลของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เนื้อหาภายในแฟ้มประกอบด้วยเอกสารระบุตัวตนที่ออกโดยราชการ เอกสารการรับสมัคร เอกสารการดำรงตำแหน่งต่าง ๆ การเลื่อนตำแหน่ง การศึกษาต่อ การลาออก และการเสียชีวิตของบุคลากร เอกสารเหล่านี้มีประโยชน์สำหรับการศึกษาค้นคว้าประวัติและพัฒนาการของบุคลากรมหาวิทยาลัย
การประเมินคุณค่าการทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร
เอกสารทั้งหมดได้ผ่านการประเมินคุณค่าตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงตารางกำหนดอายุการเก็บเอกสารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
การเพิ่มขึ้นของเอกสาร
คาดว่าจะมีการรับมอบเอกสารเพิ่มเติมจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี เป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในส่วนของ:
แฟ้มประวัติบุคลากรที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกในแต่ละปีและเสียชีวิตแล้ว
การรับมอบเอกสารเพิ่มเติมจะดำเนินการตามนโยบายการจัดการเอกสารของจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยจะมีการประสานงานระหว่างงานทะเบียนประวัติ กองบริหารทรัพยากรบุคคล และฝ่ายจดหมายเหตุและคอลเล็กชั่นเพิเศษ เป็นประจำทุกปี เพื่อกำหนดระยะเวลาและปริมาณเอกสารที่จะรับมอบ
แฟ้มประวัติบุคลากรที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกในแต่ละปีและเสียชีวิตแล้ว
การรับมอบเอกสารเพิ่มเติมจะดำเนินการตามนโยบายการจัดการเอกสารของจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยจะมีการประสานงานระหว่างงานทะเบียนประวัติ กองบริหารทรัพยากรบุคคล และฝ่ายจดหมายเหตุและคอลเล็กชั่นเพิเศษ เป็นประจำทุกปี เพื่อกำหนดระยะเวลาและปริมาณเอกสารที่จะรับมอบ
ระบบการจัดเรียงเอกสาร
จัดเรียงตามหน่วยงานและชื่อบุคคล และตามลำดับเวลาของเอกสาร เริ่มจากเอกสารเก่าสุดไปหาใหม่สุด
ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร
เงื่อนไขที่กำกับดูแลการเข้าถึง
การเข้าถึงเอกสารชุดนี้เป็นไปตามการให้บริการของฝ่ายจดหมายเหตุโดยมีเงื่อนไขดังนี้:
เอกสารทั่วไปที่ไม่มีชั้นความลับ สามารถเข้าถึงได้โดยนักวิจัยและบุคคลทั่วไป ภายใต้การกำกับดูแลของเจ้าหน้าที่ฝ่ายจดหมายเหตุ
แฟ้มประวัติบุคลากร มีข้อจำกัดในการเข้าถึงเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย:
1. เจ้าของประวัติสามารถเข้าถึงแฟ้มประวัติของตนเองได้
2. ผู้วิจัยสามารถขออนุญาตเข้าถึงได้เป็นรายกรณี โดยต้องทำหนังสือขออนุญาตและระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัยอย่างชัดเจน
3. เอกสารที่มีชั้นความลับ จะเปิดให้เข้าถึงได้เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการรักษาความลับตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
4. การทำสำเนาเอกสารต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าฝ่ายจดหมายเหตุ และอาจมีค่าใช้จ่ายในการทำสำเนา
5. อาจมีข้อจำกัดในการเข้าถึงเอกสารบางรายการที่มีสภาพชำรุด เพื่อการอนุรักษ์
เอกสารทั่วไปที่ไม่มีชั้นความลับ สามารถเข้าถึงได้โดยนักวิจัยและบุคคลทั่วไป ภายใต้การกำกับดูแลของเจ้าหน้าที่ฝ่ายจดหมายเหตุ
แฟ้มประวัติบุคลากร มีข้อจำกัดในการเข้าถึงเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย:
1. เจ้าของประวัติสามารถเข้าถึงแฟ้มประวัติของตนเองได้
2. ผู้วิจัยสามารถขออนุญาตเข้าถึงได้เป็นรายกรณี โดยต้องทำหนังสือขออนุญาตและระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัยอย่างชัดเจน
3. เอกสารที่มีชั้นความลับ จะเปิดให้เข้าถึงได้เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการรักษาความลับตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
4. การทำสำเนาเอกสารต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าฝ่ายจดหมายเหตุ และอาจมีค่าใช้จ่ายในการทำสำเนา
5. อาจมีข้อจำกัดในการเข้าถึงเอกสารบางรายการที่มีสภาพชำรุด เพื่อการอนุรักษ์
งื่อนไขที่กำกับดูแลการทำสำเนา
ภาษาของเอกสาร
- ไทย
สคริปเอกสาร
- ไทย
หมายเหตุภาษาและตัวอักษร
ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร
เครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ
ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้อง
สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ
สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา
หน่วยของคำอธิบายที่เกี่ยข้อง
ส่วนหมายเหตุ
Alternative identifier(s)
จุดเชื่อมต่อ
จุดเชื่อมเรื่อง
จัดจุดเข้าถึง
ชื่อจุดเข้าถึง
- กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย (ผู้ผลิตเอกสาร)
Genre access points
พื้นที่ควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร
การทำคำอธิบายเอกสารidentifier
identifierของหน่วยงาน
กฎระเบียบและ / หรือข้อตกลง
สถานะ
ระดับของคําอธิบาย
วันที่สร้าง/แก้ไข/ลบ
ภาษา
สคริป
แหล่ง
บันทึกของนักจดหมายเหตุ
จัดทำคำอธิบายโดย นายสิทธิชัย วิมาลา เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2567